1. SistaCafe
  2. เช็กกันหน่อยดีไหม? เรามีอาการ " Brain Fog " (ภาวะสมองล้า) หรือเปล่านะ

ภาวะสมองล้า (Brain Fog Syndrome) คืออะไร?

ภาพประกอบบทความ:sistacafe-assets:____%2Fc%2F94482%2F4740ad4e-7053-479d-870d-a43600969519.jpeg?v=20240305131304&ratio=1.000

ภาวะสมองล้า (Brain fog syndrome)


เพราะถูกเปรียบเทียบว่ามีเมฆหมอกปกคลุมสมองอยู่ ทำให้ความคิดไม่สดใส


จึงเป็นที่มาของชื่อ Brain fog นั่นเองค่ะ



ภาวะนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัยเลยค่ะสาว ๆ


ไม่ว่าจะเป็น เด็ก ผู้ใหญ่ วัยทำงาน วัยเรียน หรือผู้สูงอายุ


ซึ่งแม้ว่าอาจจะเป็นภาวะที่สามารถแก้ไขหรือรักษาได้


แต่ก็สามารถส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันได้ไม่น้อยเช่นกันนะคะ


เช่น อาจจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานได้ และอาจจะทำให้เราเรียนรู้อะไรได้ช้าลงด้วยค่ะ




สาเหตุของภาวะสมองล้า

ภาพประกอบบทความ:sistacafe-assets:____%2Fc%2F94482%2Ffd481bc6-00a8-4b99-8cd9-0e179569c365.jpeg?v=20240305131304&ratio=1.000

อาการของภาวะสมองล้า

ภาพประกอบบทความ:sistacafe-assets:____%2Fc%2F94482%2F2014a6c8-fe39-4bd4-ab8c-08e8c7971bd0.jpeg?v=20240305131304&ratio=1.000

วิธีแก้ไขภาวะสมองล้า

ภาพประกอบบทความ:sistacafe-assets:____%2Fc%2F94482%2Fdac4bcc9-c7e4-4a98-a34a-57214ef5e502.jpeg?v=20240305131305&ratio=1.000ภาพประกอบบทความ:sistacafe-assets:____%2Fc%2F94482%2F3359d8b7-89c9-4d0f-83de-0ff6b02a0049.jpeg?v=20240305131305&ratio=1.000

การแก้ไขหรือรักษาภาวะสมองล้า จะต้องปรับทั้งพฤติกรรมการใช้ชีวิตของเรา


และต้องรวมไปถึงการรักษาจิตใจด้วยนะคะ



เพราะฉะนั้น นอกจากปรับพฤติกรรมการทาน การนอน การออกกำลังกายแล้ว


การดูแลจิตใจไม่ให้เกิดภาวะเครียดจนมากเกินไปอย่างที่กล่าวไปข้างต้นแล้ว


ก็ยังมีอีกอย่างที่สาว ๆ ต้องตระหนักด้วยคือ ถ้าหากว่าการปรับพฤติกรรมและการดูแลจิตใจแล้ว


ยังมีอาการอยู่ สาว ๆ ก็อย่าลืมไปพบแพทย์นะคะ



อย่าปล่อยให้ร่างกายเราแย่มาก ๆ ถึงจะไปหาหมอน้าา


ด้วยความเป็นห่วงนะคะสาว ๆ


แล้วเจอกันใหม่ค่า ><




เว็ปไซต์นี้ใช้คุกกี้

SistaCafe ให้ความสำคัญต่อข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน เพื่อการพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต์ หากท่านใช้บริการเว็บไซต์นี้โดยไม่มีการปรับตั้งค่าใดๆ แสดงว่าท่านยินยอมที่จะรับคุกกี้บนเว็บไซต์และนโยบายสิทธิส่วนบุคคลของเรา และ นโยบายการใช้คุกกี้