รูปภาพ:

สาว ๆ อาจใช้ยาคุมกำเนิดเพื่อจุดประสงค์ที่ต่างกันออกไป เช่น ใช้เพื่อปรับฮอร์โมน หรือใช้เพื่อคุมกำเนิดการตั้งครรภ์ บางคนก็ไปซื้อมาจากร้านขายยา ที่จำหน่ายโดยเภสัชกร แต่ไม่เคยศึกษาเรื่องยาคุมกำเนิดมาก่อนเพราะคิดว่าแค่รับยาจากเภสัชมากินก็พอแล้วยาคุมกำเนิดมีหลายแบบ หลายประเภทมาก ๆ ซึ่งแต่ละประเภทก็มีผลข้างเคียงกับร่างกายแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล และมีวิธีการกินที่ไม่เหมือนกันสาว ๆ อาจจะไม่รู้ว่าต้องกินยังไง เริ่มกินตอนไหนดีตามมาอ่านพร้อมกันเลยจ้า เพราะวันนี้ซิสจะพามาดู10 เรื่องต้องรู้ ! ก่อนใช้ยาคุมกำเนิดกันค่ะ

รู้ก่อนพลาด เปิด 8 วิธี ‘คุมกำเนิด’ ได้ผลดี

รูปภาพ:

โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณย์ ได้แนะนำวิธีคุมกำเนิดแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ1.การคุมกำเนิดแบบถาวร คือ การทำหมันเหมาะสำหรับครอบครัวที่มีบุตรเพียงพอแล้ว การคุมกำเนิดวิธีนี้มีผลดี คือ เป็นการคุมกำเนิดถาวร ปลอดภัย ไม่มีฤทธิของฮอร์โมน ไม่มีผลต่อสุขภาพหรือสมรรถภาพทางเพศ

และ2.การคุมกำเนิดชั่วคราวได้แก่ การรับประทานยาคุมกำเนิด ฉีดยาคุมกำเนิด ใส่ห่วงทองแดงคุมกำเนิด ฝังยาคุมกำเนิด แปะแผ่นยาคุมกำเนิด ถุงยางอนามัย การนับวัน การหลั่งภายนอก เป็นต้น

1.ยารับประทานคุมกำเนิด

มี 3 ชนิด คือ

– ยารับประทานคุมกำเนิดหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือยารับประทานคุมกำเนิดแบบฉุกเฉิน

– ยารับประทานคุมกำเนิด ชนิดแบบที่มีฮอร์โมนเดี่ยว

– ยารับประทานคุมกำเนิด ชนิดแบบที่มีฮอร์โมนรวม ใช้กันมากที่สุด

ยารับประทานคุมกำเนิดอาจไม่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการคุมกำเนิดในระยะยาว เพราะต้องรับประทานทุกวัน จึงมีโอกาสที่จะลืมรับประทานได้สำหรับสตรีที่ต้องเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม อาจไม่เหมาะ ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน และมีผลให้น้ำนมน้อยลง อาจจะใช้เป็นยารับประทานคุมกำเนิด ชนิดแบบฮอร์โมนเดี่ยวแทน ซึ่งสามารถใช้ได้ตั้งแต่หลังคลอด แต่ผลข้างเคียงของการลืมรับประทานยา คือ อาจมีเลือดออกทางช่องคลอดกะปริบกะปรอยได้บ่อย

ยารับประทานคุมกำเนิดแบบฉุกเฉิน สามารถใช้ได้ในช่วงไม่เกิน 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิดโดยวิธีนี้ไม่ควรใช้เป็นวิธีคุมกำเนิดเป็นประจำ เพราะมีผลข้างเคียงเช่น ทำให้ระดูมาไม่สม่ำเสมอ ระดูกะปริบกะปรอยได้ถ้าใช้เป็นประจำ

3.การใส่ห่วงทองแดงคุมกำเนิด

กลไกการคุมกำเนิดคือห่วงจะไปขัดขวางการฝังตัวของตัวอ่อนในโพรงมดลูกแพทย์จะใส่ห่วงคุมกำเนิดเข้าไปในโพรงมดลูก แล้วเหลือสายห่วงออกมาจากปากมดลูกยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร ดังนั้นจะต้องตรวจสายห่วงเป็นระยะอายุการใช้งานของห่วงคุมกำเนิด คือ 3-5 ปีแล้วแต่ชนิดของห่วงคุมกำเนิด

ข้อดี คือไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ไม่ต้องฉีดยาทุก 3 เดือน ไม่มีผลของฮอร์โมน ไม่มีปัญหาเรื่องระดูผิดปกติกะปริบกะปรอย ไม่มีผลต่อน้ำหนักตัว ไม่คลื่นไส้อาเจียน ไม่ทำให้เกิดสิวฝ้ามากขึ้นแต่ข้อเสีย คือ ต้องคอยตรวจเช็คสายห่วงอย่างสม่ำเสมอ โดยการตรวจด้วยตนเอง หรือมาตรวจตามที่แพทย์นัดหมาย

4.การฝังยาคุมกำเนิด

ทำได้ตั้งแต่ระยะคลอดใหม่ ๆ ไม่มีผลต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตันและปริมาณน้ำนม แพทย์จะฝังหลอดยาเล็ก ๆ ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร แบบจำนวน 1 หลอดหรือ 2 หลอด เข้าใต้ผิวหนังบริเวณท้องแขนด้านใน ยาฝังคุมกำเนิดจะมีฤทธิ์คุมกำเนิด 3-5 ปี แล้วแต่ชนิดของยา

ข้อดีคือสามารถคุมกำเนิดได้นาน ไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ไม่ถูกฉีดยา และ ไม่ต้องเช็คสายห่วงคุมกำเนิด ไม่มีโอกาสหลุดเหมือนห่วงคุมกำเนิด แต่ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือ ประจำเดือนกะปริบกะปรอย น้ำหนักขึ้น

5.การใช้แผ่นแปะคุมกำเนิด

แปะที่บริเวณสะโพก ท้องน้อย ต้นแขน หรือแผ่นหลังส่วนบน(แต่ไม่ควรแปะบริเวณเต้านม) โดยจะเปลี่ยนแผ่นทุกสัปดาห์เป็นเวลา 3 สัปดาห์ เว้น 1 สัปดาห์ ไม่ต้องแปะแผ่นยา ซึ่งจะเป็นช่วงที่มีระดู

ข้อดีคือประสิทธิภาพการคุมกำเนิดค่อนข้างดี ไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ไม่ต้องถูกฉีดยา ฝังยาหรือใส่ห่วงคุมกำเนิดผลข้างเคียงคือ บริเวณที่แปะอาจมีอาการคัน รู้สึกไม่สบายตัว กังวลว่าจะลอกหลุด คัดตึงเต้านม

6.การใช้ถุงยางอนามัย

การใส่ถุงยางอนามัยนอกจากคุมกำเนิดแล้วยังสามารถป้องกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ได้ด้วยโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดสูง เพราะวิธีการใช้ไม่ถูกต้อง คุณภาพของถุงยางไม่ดีทำให้ขาดหรือรั่วได้

7.การนับวัน

เหมาะสำหรับผู้ที่มีรอบระดูสม่ำเสมอโดยช่วงที่ปลอดภัยต่อการตั้งครรภ์ คือ ก่อน 7 หลัง 7 หมายถึง ช่วงที่มีโอกาสตั้งครรภ์ต่ำถ้ามีเพศสัมพันธ์ในช่วงนี้ คือในช่วงก่อนมีระดู 7 วัน และหลังจากมีระดู 7 วัน (นับวันที่มีระดูวันแรกเป็นวันที่1) การคุมกำเนิดวิธีนี้มีโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดได้สูง เนื่องจากการนับวันผิดพลาด และไม่เหมาะสำหรับผู้ที่รอบระดูไม่สม่ำเสมอ

8.การหลั่งภายนอก

การใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออสุจิ การสวนล้างช่องคลอด ซึ่งเหล่านี้เป็นวิธีที่มีโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดได้สูงดังนั้นการคุมกำเนิดแต่ละวิธีอาจเหมาะกับสตรีแต่ละคนไม่เหมือนกัน ขึ้นกับความต้องการมีบุตรอีกหรือไม่ ระยะเวลาในความต้องการคุมกำเนิด การยอมรับได้กับผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น ความสะดวก ราคา โรคประจำตัวที่เป็นข้อบ่งห้ามในการคุมกำเนิดแต่ละวิธี เหล่านี้จึงเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเลือกวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมในสตรีแต่ละคน

2. การฉีดยาคุมกำเนิด

ฉีดได้ตั้งแต่ระยะหลังคลอดใหม่ ๆ แพทย์จะนัดฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อทุก 3 เดือน

ประสิทธิภาพการคุมกำเนิดดี เหมาะสำหรับการคุมกำเนิดระยะยาว ไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ราคาถูก

แต่อาจมีผลข้างเคียง เช่น ระดูกะปริบกะปรอยในระยะแรกแต่หลังจากนั้นส่วนใหญ่จะไม่มีระดู น้ำหนักขึ้น และเมื่อหยุดฉีดยา อาจจะต้องรอประมาณ 6 เดือนถึง 1 ปี จึงจะกลับมามีระดูและมีการตกไข่ตามปกติ จึงไม่เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการคุมกำเนิดในระยะเวลาสั้นๆ

3.การใส่ห่วงทองแดงคุมกำเนิด

กลไกการคุมกำเนิดคือห่วงจะไปขัดขวางการฝังตัวของตัวอ่อนในโพรงมดลูกแพทย์จะใส่ห่วงคุมกำเนิดเข้าไปในโพรงมดลูก แล้วเหลือสายห่วงออกมาจากปากมดลูกยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร ดังนั้นจะต้องตรวจสายห่วงเป็นระยะอายุการใช้งานของห่วงคุมกำเนิด คือ 3-5 ปีแล้วแต่ชนิดของห่วงคุมกำเนิด

ข้อดี คือไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ไม่ต้องฉีดยาทุก 3 เดือน ไม่มีผลของฮอร์โมน ไม่มีปัญหาเรื่องระดูผิดปกติกะปริบกะปรอย ไม่มีผลต่อน้ำหนักตัว ไม่คลื่นไส้อาเจียน ไม่ทำให้เกิดสิวฝ้ามากขึ้นแต่ข้อเสีย คือ ต้องคอยตรวจเช็กสายห่วงอย่างสม่ำเสมอ โดยการตรวจด้วยตนเอง หรือมาตรวจตามที่แพทย์นัดหมาย

4.การฝังยาคุมกำเนิด

ทำได้ตั้งแต่ระยะคลอดใหม่ ๆ ไม่มีผลต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตันและปริมาณน้ำนม แพทย์จะฝังหลอดยาเล็ก ๆ ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร แบบจำนวน 1 หลอดหรือ 2 หลอด เข้าใต้ผิวหนังบริเวณท้องแขนด้านใน ยาฝังคุมกำเนิดจะมีฤทธิ์คุมกำเนิด 3-5 ปี แล้วแต่ชนิดของยา

ข้อดีคือสามารถคุมกำเนิดได้นาน ไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ไม่ถูกฉีดยา และ ไม่ต้องเช็คสายห่วงคุมกำเนิด ไม่มีโอกาสหลุดเหมือนห่วงคุมกำเนิด แต่ผลข้างเคียงที่พบบ่อยคือ ประจำเดือนกะปริบกะปรอย น้ำหนักขึ้น

5.การใช้แผ่นแปะคุมกำเนิด

แปะที่บริเวณสะโพก ท้องน้อย ต้นแขน หรือแผ่นหลังส่วนบน(แต่ไม่ควรแปะบริเวณเต้านม) โดยจะเปลี่ยนแผ่นทุกสัปดาห์เป็นเวลา 3 สัปดาห์ เว้น 1 สัปดาห์ ไม่ต้องแปะแผ่นยา ซึ่งจะเป็นช่วงที่มีระดู

ข้อดีคือประสิทธิภาพการคุมกำเนิดค่อนข้างดี ไม่ต้องรับประทานยาทุกวัน ไม่ต้องถูกฉีดยา ฝังยาหรือใส่ห่วงคุมกำเนิดผลข้างเคียงคือ บริเวณที่แปะอาจมีอาการคัน รู้สึกไม่สบายตัว กังวลว่าจะลอกหลุด คัดตึงเต้านม

6.การใช้ถุงยางอนามัย

การใส่ถุงยางอนามัยนอกจากคุมกำเนิดแล้วยังสามารถป้องกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ได้ด้วยโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดสูง เพราะวิธีการใช้ไม่ถูกต้อง คุณภาพของถุงยางไม่ดีทำให้ขาดหรือรั่วได้

7.การนับวัน

เหมาะสำหรับผู้ที่มีรอบระดูสม่ำเสมอโดยช่วงที่ปลอดภัยต่อการตั้งครรภ์ คือ ก่อน 7 หลัง 7หมายถึง ช่วงที่มีโอกาสตั้งครรภ์ต่ำถ้ามีเพศสัมพันธ์ในช่วงนี้ คือในช่วงก่อนมีระดู 7 วัน และหลังจากมีระดู 7 วัน (นับวันที่มีระดูวันแรกเป็นวันที่1) การคุมกำเนิดวิธีนี้มีโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดได้สูง เนื่องจากการนับวันผิดพลาด และไม่เหมาะสำหรับผู้ที่รอบระดูไม่สม่ำเสมอ

8.การหลั่งภายนอก

การใช้

น้ำยาฆ่าเชื้ออสุจิ การสวนล้างช่องคลอด

ซึ่งเหล่านี้เป็นวิธีที่

มีโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดได้สูง

ดังนั้นการคุมกำเนิดแต่ละวิธีอาจเหมาะกับสตรีแต่ละคนไม่เหมือนกัน ขึ้นกับความต้องการมีบุตรอีกหรือไม่ ระยะเวลาในความต้องการคุมกำเนิด การยอมรับได้กับผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น ความสะดวก ราคา โรคประจำตัวที่เป็นข้อบ่งห้ามในการคุมกำเนิดแต่ละวิธี เหล่านี้จึงเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเลือกวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมในสตรีแต่ละคน

10 ข้อควรรู้ก่อนใช้'ยาคุมกำเนิด'

เช็กให้ชัวร์10 ข้อควรรู้ก่อนใช้ยาคุมกำเนิดให้ไม่พลาด และใช้อย่างถูกวิธี เกิดประสิทธิภาพ

1. ยาคุมกำเนิดแบบเม็ด (Birth Control Pill)

รูปภาพ:

1. ยาคุมกำเนิดแบบเม็ด (Birth Control Pill)

เป็นยาที่ประกอบไปด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด คือ เอสโตรเจน (Estrogen)ที่ควบคุมระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง และโปรเจสเตอโรน (Progesterone)ที่ฮอร์โมนเพศหญิงที่มีส่วนสำคัญในการควบคุมภาวะไข่ตกและการมีประจำเดือน ซึ่งฮอร์โมนทั้งสองมีความสำคัญต่อการป้องกันการตั้งครรภ์

2. ยาคุมกำเนิดมีผลทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกบางลง

รูปภาพ:

2. ยาคุมกำเนิดมีผลทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกบางลง

ยาคุมกำเนิด

ทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกบางลงจนตัวอ่อนที่เกิดจากการผสมกับไข่และอสุจิไม่สามารถฝังตัวได้ และยังช่วยทำให้เมือกบริเวณปากมดลูกมีความเหนียวข้นมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะทำให้

อสุจิไม่สามารถเข้ามาผสมกับไข่เพื่อปฏิสนธิได้

นั่นเองค่า

3. ยาคุมกำเนิดแบบแบ่งตามประเภทเม็ด

รูปภาพ:

3. ยาคุมกำเนิดแบบแบ่งตามประเภทเม็ด

ยาคุมกำเนิดแบบเม็ดมีทั้งแบบ 21 เม็ด และแบบ 28 เม็ดโดยแบบ 21 เม็ด เมื่อกินจนหมดแผงแล้ว จะต้องเว้นไป 7 วันจึงจะสามารถเริ่มแผงใหม่ได้ ส่วนแบบ 28 เม็ด จะมีตัวยาจริงเพียง 21 เม็ด และมีเม็ดแป้งอีก 7 เม็ด มันจะเหมือนเป็นเม็ดหลอกค่า จะเหมาะสำหรับคนที่กลัวจะนับวันผิด ทำให้ต้องกินต่อเนื่องกันจนหมดแผงแต่ไม่ว่าจะกินแบบไหน 21 หรือ 28 เม็ด ก็ได้ผลในการคุมกำเนิดเท่ากันค่ะ ✓

4. การเริ่มใช้ยาคุมกำเนิดครั้งแรก

รูปภาพ:

4. การเริ่มใช้ยาคุมกำเนิดครั้งแรก

สำหรับการใช้ยาคุมกำเนิดครั้งแรกหรือการเริ่มใช้อีกครั้งหลังหยุดคุมกำเนิดไประยะหนึ่ง สาว ๆควรเริ่มกินภายในวันที่ 5 วันแรกของช่วงที่มีประจำเดือนเพื่อให้มั่นใจว่าไม่ได้ตั้งครรภ์อยู่ เพราะอาจเสี่ยงทำให้ตัวอ่อนทารกพิการได้หากกำลังตั้งครรภ์อยู่พอดี และถ้าหากรู้ตัวว่ามีโอกาสที่จะมีเพศสัมพันธ์ควรกินยาคุมกำเนิดไว้ในระหว่างรอบเดือนเพื่อป้องกันไว้ล่วงหน้านะคะ

5. ยาคุมกำเนิดจะต้องกินเวลาเดิมทุกวัน

รูปภาพ:

5. ยาคุมกำเนิดจะต้องกินเวลาเดิมทุกวัน

การกินยาคุมกำเนิดจะต้องกินเวลาเดิมทุกวัน!!เพราะถ้าหากหากลืมกินยาแล้วล่ะก็จะทำให้ประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดลดลงและหากลืมกินยาคุมกำเนิดมากกว่า 3 ชั่วโมง ให้กินทันทีที่นึกขึ้นได้เลย และกินเม็ดต่อไปในเวลาเดิมได้ค่าซิสแนะนำว่าตั้งเตือนไว้ในโทรศัพท์ก็ได้นะ ป้องกันการลืม

6. ผลข้างเคียงของยาคุมกำเนิด

รูปภาพ:

6. ผลข้างเคียงของการกินยาคุมกำเนิด

การกินยาคุมกำเนิดอาจมีผลข้างเคียงเช่นคลื่นไส้ อาเจียน คัดเต้านม อารมณ์แปรปรวน หรือมีเลือดออกผิดปกติ แต่อาการเหล่านี้บางคนอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ หรือบางคนก็มีอาการที่แสดงออกมากน้อยแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคลเลยค้าบแต่ถ้ามีอาการรุนแรงก็ควรไปพบแพทย์น้า อยู่ในการดูแลของแพทย์จะปลอดภัยที่สุดค่า

7. วิธีกินยาคุมกำเนิดที่ถูกต้อง

รูปภาพ:

7. วิธีกินยาคุมกำเนิดที่ถูกต้อง

วิธีกินยาคุมกำเนิดที่ถูกต้องควรดูวันที่ตามจริงและวันที่บนแผงอย่างละเอียดเลย ซึ่งบนแผงยาจะระบุวันไว้ตามในรูปที่แปะให้ดู ตั้งแต่วันจันทร์ถึงอาทิตย์ หากวันที่จะเริ่มกินยาเม็ดแรกเป็นวันพุธก็ให้แกะยาเม็ดแรกของวันพุธมากิน แล้วให้กินต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะหมดแผง ที่ต้องให้กินแบบนี้เพื่อจะได้ไม่หลงลืมว่าในวันนั้นๆ กินยาไปแล้วหรือยังกาปฏิทินไว้ด้วยเลย ว่ากินมาถึงวันไหนแล้วว เพื่อความชัวร์

8. ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน

รูปภาพ:

8. ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน

ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินควรใช้ในกรณีฉุกเฉินเท่านั้นเช่นในกรณีถูกข่มขืน มีเพศสัมพันธ์โดยที่ไม่ตั้งใจ ถุงยางรั่วหรือแตกขณะมีเพศสัมพันธ์ หรือลืมกินยาคุมกำเนิดมากกว่า 3 วันเพราะแม้จะสามารถควบคุมการตั้งครรภ์ได้แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้กินจะปลอดภัยจากการตั้งครรภ์ 100%  รวมถึงยาคุมฉุกเฉินไม่สามารถป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์เช่น เอดส์ นอกจากนี้ยายังอาจส่งผลกระทบต่อรังไข่และมดลูก รวมถึงกระตุ้นเซลล์มะเร็งได้

9. วิธีใช้ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน

รูปภาพ:

9. วิธีใช้ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน

ในแผงของยาคุมกำเนิดฉุกเฉินจะมี 2 เม็ดเม็ดแรกให้กินทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์ ส่วนเม็ดที่ 2 นั้นให้กินหลังจากนั้น 12 ชั่วโมง  ซึ่งต้องรีบกินให้เร็วที่สุดหลังจากมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกันเพื่อให้ยามีประสิทธิภาพมากที่สุดแต่ ๆยาคุมกำเนิดฉุกเฉินนั้นอาจมีประสิทธิภาพต่ำกว่ายาคุมกำเนิดชนิดแผง

6.การใช้ถุงยางอนามัย

การใส่ถุงยางอนามัยนอกจากคุมกำเนิดแล้วยังสามารถป้องกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ได้ด้วยโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดสูง เพราะวิธีการใช้ไม่ถูกต้อง คุณภาพของถุงยางไม่ดีทำให้ขาดหรือรั่วได้

7.การนับวัน

เหมาะสำหรับผู้ที่มีรอบระดูสม่ำเสมอโดยช่วงที่ปลอดภัยต่อการตั้งครรภ์ คือ ก่อน 7 หลัง 7 หมายถึง ช่วงที่มีโอกาสตั้งครรภ์ต่ำถ้ามีเพศสัมพันธ์ในช่วงนี้ คือในช่วงก่อนมีระดู 7 วัน และหลังจากมีระดู 7 วัน (นับวันที่มีระดูวันแรกเป็นวันที่1) การคุมกำเนิดวิธีนี้มีโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดได้สูง เนื่องจากการนับวันผิดพลาด และไม่เหมาะสำหรับผู้ที่รอบระดูไม่สม่ำเสมอ

8.การหลั่งภายนอก

การใช้น้ำยาฆ่าเชื้ออสุจิ การสวนล้างช่องคลอด ซึ่งเหล่านี้เป็นวิธีที่มีโอกาสล้มเหลวในการคุมกำเนิดได้สูงดังนั้นการคุมกำเนิดแต่ละวิธีอาจเหมาะกับสตรีแต่ละคนไม่เหมือนกัน ขึ้นกับความต้องการมีบุตรอีกหรือไม่ ระยะเวลาในความต้องการคุมกำเนิด การยอมรับได้กับผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น ความสะดวก ราคา โรคประจำตัวที่เป็นข้อบ่งห้ามในการคุมกำเนิดแต่ละวิธี เหล่านี้จึงเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเลือกวิธีการคุมกำเนิดที่เหมาะสมในสตรีแต่ละคน

10. ก่อนกินยาคุมกำเนิด

รูปภาพ:

10. ก่อนกินยาคุมกำเนิด

มาถึงข้อสุดท้ายกันแล้วนะคะ ข้อนี้ก็อยากจะเน้นย้ำไว้เหมือนกันว่า'ก่อนกินยาคุมกำเนิดแผงใหม่ทุกครั้ง'ควรตรวจเช็กดูวันหมดอายุก่อนใช้ยาเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งวันที่หมดอายุอาจสังเกตได้จากบนตัวกล่องผลิตภัณฑ์ ที่มีคำว่า "ควรบริโภคก่อน" หรือ "EXP"

✦—• ★ ʕ•ᴥ•ʔ ✦—• ★

จบกันไปแล้วนะคะ สำหรับ10 เรื่องต้องรู้ก่อนใช้ยาคุมกำเนิดการศึกษาเรื่องยาคุมกำเนิดถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญสำหรับ สาว ๆ มาก ๆเลย เพราะวัตถุประสงค์คือ ใช้ป้องกันการตั้งครรภ์โดยไม่ได้ควบคุมไม่ว่าจะอายุเท่าไร หรืออยู่ในวัยใดก็ตาม นอกจากการคุมกำเนิดจะสามารถป้องกันปัญหาการท้องก่อนวัยอันควร ยังช่วยให้คู่สมรสที่ยังไม่พร้อมมีบุตรวางแผนครอบครัวได้อีกด้วยซึ่งจำเป็นต้องทำความเข้าใจสรรพคุณของยา ผลกระทบหลังการใช้ และที่สำคัญคือการรับประทานให้ถูกวิธี

หวังว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์กับทุกคน อยากให้ชาวซิสได้คลายความสงสัย และทำความเข้าใจให้ถูกต้องเกี่ยวก่อนการใช้ยาคุมกำเนิดกันนะค้าา พบกันใหม่บทความหน้า สำหรับวันนี้ขอตัวลาไปก่อน บ้ายบายย~~