จริงๆ แล้ว กลีเซอรีน เป็นสารที่ให้ความชุ่มชื้นตามธรรมชาติที่มีอยู่ในผิวของคนเรา ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไป ความชุ่มชื้นที่ผิวของเรานั้นจะลดลงไปตามวัยเจอมลภาวะสิ่งแวดล้อมต่างๆ ก็จะยิ่งลดน้อยลงไปอีก
กลีเซอรีน หรือกลีเซอรอล ถูกค้นพบครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1779 โดยนักเคมีชาวสวีเดน ชื่อ Carl W. Scheele จากการทดลองปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันในการสกัดน้ำมันมะกอก หลังจากนั้นจึงถูกพฒนามาเป็นสารตั้งต้นสำคัญในหลายอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็น ด้านอาหาร ยา หรือเครื่องสำอาง ซึ่งกลีเซอรีนในวงการความงามนั้นมีคุณสมบัติเป็นมอยส์เจอไรเซอร์ในกลุ่ม Humectant คือสามารถการดูดความชื้นทั้งจากในอากาศและจากชั้นผิวให้เข้าสู่ผิวหนังของเรา มีส่วนผสมอีกหลายชนิด ที่ทำหน้าที่คล้ายกับ กลีเซอรีน อย่างที่เราอาจจะไเคยได้ยินบ่อยๆ คือ hyaluronic acid, Sorbitol, Propylene Glycerol
กลีเซอรีน (Glycerin) หรือ กลีเซอรอล (Glycerol) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มของโพลิไฮดริกแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่ง ถือเป็นสารชนิดเดียวกันสำหรับเป็นสารตั้งต้นสำคัญในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ การผลิตสบู่ การผลิตยา การผลิตเครื่องสำอาง เป็นต้น
กลีเซอรีน หรือกลีเซอรอล ถูกค้นพบครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1779 โดยนักเคมีชาวสวีเดน ชื่อ Carl W. Scheele จากการทดลองปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันในการสกัดน้ำมันมะกอก
หน้าหนาวใกล้เข้ามาแล้วค่ะซิส พอถึงช่วงนี้ผิวหน้าก็เริ่มจะมีปัญหาทั้งแห้งทั้งแตก วนลูปไปเหมือนกับทุกปีทีนี้ก็คงถึงเวลาที่จะต้องหาผลิตภัณฑ์มาช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นแล้วแหละซิสขอนำเสนอกลีเซอรีนส่วนผสมสุดฮิตที่ถ้าเราได้ไปลองเดินดูสินค้าตามห้าง แน่นอนว่าก็ต้องมีกลีเซอรีนเป็นหนึ่งในส่วนผสมบนฉลากนั้นแน่นอน ว่าแต่อะไรเป็นสิ่งที่ทำให้กลีเซอรินเป็นที่นิยมและอยู่ในผลิตภัณฑ์แทบจะทุกตัวกันล่ะ?มาค่ะซิสจะเล่าให้ฟัง มาลองทำความรู้จักกับกลีเซอริน Active Ingredient ที่เหมาะกับหน้าหนาวนี้ไปด้วยกันเลยจ้า
เป็นสารดึงน้ำหรือสารที่ดูดความชุ่มชื่นจากชั้นหนังแท้มาสู่ชั้นหนังกำพร้า หรือพูดง่ายๆ ก็คือจะทำหน้าที่ดึงน้ำจากอากาศเข้าสู่ผิวของเรา สารที่พบบ่อยเช่น Sodium hyaluronate, Collagen, Glycerin, Sorbitol, Propylene Glycerol, Urea, Hyaluronic Acid ฯลฯ แต่ถ้าอากาศหนาวๆ จนแห้ง ทำให้เกิดการดึงน้ำเข้าสู่ผิวได้น้อยลง ใครที่มีผิวขาดน้ำก็ควรมองหาตัวช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นอย่างอื่นทดแทนด้วย
⋆·˚ ༘ * กลีเซอรีนคืออะไร? ⋆·˚ ༘ *
แม้ว่าจะมีผลวิจัยรองรับจาก American Academy of Dermatology (AAD) ที่เป็นสมาคมทางการแพทย์มืออาชีพเกี่ยวกับผิวหนังแล้วว่าGlycerineที่ใช้ในเครื่องสำอาง, โลชั่นบำรุงผิวหรือสบู่นั้น มีความปลอดภัยสูงอีกทั้งยังมีผลดีกับผิวของคุณ แต่หากว่าหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นแล้วเกิดอาการคันหรือรอยแดง ให้คุณหยุดใช้ผลิตภัณฑ์นั้นแล้วรีบไปพบแพทย์ทันที เพื่อหาสาเหตุของอาการแพ้ที่จริงจะดีที่สุด
เพราะก็มีบางงานวิจัยเช่นกันที่พบว่า กลีเซอรีน อาจทำให้ผิวหนังขาดน้ำได้ เนื่องจากสารเคมีชนิดนี้มีแม้จะมอบความชุ่มชื้นได้แต่ก็มีสถานะที่เป็นสารดูดความชื้นได้ด้วยเมื่ออยู่ในสภาวะที่มีความชื้นต่ำ และหากคุณใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีชนิดนี้ผสมเยอะมากจนเกินไปในสบูหรือสกินแคร์ ก็อาจทำให้ผิวขาดน้ำหรือเกิดแผลพุพองที่ผิวหนังได้
มีบางคนสงสัยว่าการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีกลีเซอรินจะเป็นการดูดน้ำออกจากผิวมากเกินไปหรือไม่เมื่อมีความชื้นในอากาศไม่เพียงพอ สิ่งนี้สามารถเกิดขึ้นได้กับกลีเซอรินแท้ (ความเข้มข้น 100% ซึ่งเป็นปริมาณที่ไม่เคยถูกใช้ในผลิตภัณฑ์ดูแลผิว) สารดูดความชื้นใดก็ตาม
(ซึ่งรวมถึงกลีเซอริน) ที่ถูกใช้ในรูปบริสุทธิ์สามารถทำให้ผิวของคุณสูญเสียน้ำมากยิ่งขึ้นได้โดยดึงน้ำจากชั้นล่างของผิวขึ้นสู่ชั้นบนเมื่อสภาพอากาศแห้งจนเกินไป (ความชื้นต่ำ) ด้วยเหตุผลนี้ กลีเซอรินและสารดูดความชื้นอื่นมักถูกใช้ที่ความเข้มข้น 5% หรือน้อยกว่า และมักผสมกับส่วนผสมอื่นเพื่อให้ผิวเนียนนุ่มยิ่งขึ้น แท้ที่จริงแล้ว กลีเซอรินที่ผสมกับสารที่ช่วยให้ผิวคงความชุ่มชื้นและ/หรือน้ำมันอื่นเป็นพื้นฐานของมอยซ์เจอร์ไรเซอร์ส่วนมากในท้องตลาด
แต่ถ้าอากาศหนาวๆ จนแห้ง ทำให้เกิดการดึงน้ำเข้าสู่ผิวได้น้อยลง ใครที่มีผิวขาดน้ำก็ควรมองหาตัวช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นอย่างอื่นทดแทนด้วย
เพราะก็มีบางงานวิจัยเช่นกันที่พบว่า กลีเซอรีน อาจทำให้ผิวหนังขาดน้ำได้ เนื่องจากสารเคมีชนิดนี้มีแม้จะมอบความชุ่มชื้นได้แต่ก็มีสถานะที่เป็นสารดูดความชื้นได้ด้วยเมื่ออยู่ในสภาวะที่มีความชื้นต่ำ และหากคุณใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารเคมีชนิดนี้ผสมเยอะมากจนเกินไปในสบูหรือสกินแคร์ ก็อาจทำให้ผิวขาดน้ำหรือเกิดแผลพุพองที่ผิวหนังได้
ก่อนอื่นเลยเรามาทำความรู้จักกับกลีเซอรีนกันก่อน ซึ่งกลีเซอรีน หรือกลีเซอรอล เค้าถูกค้นพบครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1779 โดยนักเคมีชาวสวีเดน ชื่อ Carl W. Scheele จากการทดลองปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชันในการสกัดน้ำมันมะกอก หลังจากนั้นจึงถูกพัฒนามาเป็นสารตั้งต้นสำคัญในหลายอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็น อุตสาหกรรมทางด้านอาหาร ยา หรือเครื่องสำอางกลีเซอรีนในวงการบิวตี้นั้นจะถูกจัดเป็นมอยส์เจอไรเซอร์ในกลุ่ม Humectantคือเค้าสามารถที่จะดูดความชื้นจากในอากาศให้เข้าสู่ผิวหนังของเรา หรือเมื่อความชื้นในอากาศน้อยกว่าในผิวเค้าก็ดึงน้ำจากชั้นล่างของผิวเราขึ้นสู่ชั้นบนเพื่อรักษาความชุ่มชื้นไว้ให้กับผิวนอกจากกลีเซอรีนแล้วจริงๆ ยังมีส่วนผสมอีกหลายชนิดที่ทำหน้าที่คล้ายกับกลีเซอรีน ตัวอย่างที่เราอาจจะได้เคยได้ยินผ่านหูมาบ่อยๆ กัน คือ Hyaluronic acid, Sorbitol, Propylene Glycerol ซึ่งล้วนแล้วแต่อยู่ในกลุ่ม Humectant เป็นส่วนผสมสำคัญที่ช่วยมอบความชุ่มชื้นให้กับผิวเรา
นอกจากนั้น GLYCERIN นั้นยังเป็นตัวกระตุ้น การทำงานของ AQUAPORIN ซึ่งทำให้ช่องทางลำเลียงน้ำของเซลล์ นั้นสามารถทำงานได้ดียิ่งขึ้น และยังช่วยรักษาระดับความชุ่มชื้นในผิวหนังได้ดีอีกด้วย GLYCERIN นั้นถือว่าเป้นส่วนผสมหนึ่งที่ปลอดภัยต่อผิวของเรา หรือแม้กระทั่งคนที่เป็นสิวง่ายก็ตาม และ สำหรับ ผลิตภัณฑ์ PAULA’S CHOICE เองเราก็มีใส่ GLYCERIN เข้าไปในหลายๆ PRODUCTS เช่นกัน เช่น ล้างหน้า, เซรั่ม หรือ มอยเจอไรเซอร์
รู้หรือไม่ ! ทำไมทา Moisturizer แล้วหน้ายังแตก ?
https://sistacafe.com/summaries/90968
⋆·˚ ༘ * ประโยชน์ของกลีเซอรีน ⋆·˚ ༘ *
ซิสขออธิบายเพิ่มเติมอีกนิดในเรื่องหน้าที่สำคัญของกลีเซอรีนที่มีต่อผิวเรา ด้วยความที่กลีเซอรีนเค้ามีประโยชน์ในหลายด้าน เลยทำให้เค้าเป็นส่วนผสมที่หลายๆ ผลิตภัณฑ์ต้องมี ไม่ว่าจะเป็น
✦รักษาระดับน้ำ
ในผิวหนังของเรา เพิ่มความชุ่มชื้นทำให้ผิวที่แห้งกลับมาเนียนนุ่มชุ่มชื้นขึ้น
✦เป็นเกราะป้องกัน
ช่วยป้องกันผิวในการกักเก็บความชุ่มชื้น ไม่ให้เกิดการระคายเคืองจากมลภาวะต่างๆ
✦
ทำหน้าที่ร่วมกับสารตัวอื่นๆ
ช่วยให้ส่วนผสมต่างๆ สามารถซึมลงสู่ผิวชั้นในได้ดียิ่งขึ้น
⋆·˚ ༘ * กลีเซอรีนปลอดภัยต่อผิวไหม? ⋆·˚ ༘ *
ถ้าเราได้ไปลองเดินดูสินค้าตามหเ้าม ส่วนผสมที่เรามักจะเห็นอยู่บ่อยๆ แน่นอนว่าก็ต้องมีกลีเซอรินเป็นหนึ่งในนั้นแน่นอน แล้วอะไรเป็นสิ่งที่ทำให้กลีเซอรินเป็นที่นิยมและอยู่ในผลิตภัณฑ์แทบจะทุกตัวกันล่ะ? มาค่ะซิสจะเล่าให้ฟัง
ถึงแม้ว่ากลีเซอรีนจะได้รับการยอมรับว่าเป็นส่วนผสมที่มีความปลอดภัยต่อผิวของเราแต่หลายๆ ครั้งเราก็มักจะได้ยินว่า " ถ้าอากาศหนาวๆ จนแห้ง การใช้กลีเซอรีนก็มีส่วนทำให้ผิวหนังขาดน้ำได้นะ " ที่เป็นอย่างนั้นนั่นอาจจะเพราะสารในกลุ่ม Humectant อย่างกลีเซอรีน นอกจากที่จะช่วยมอบความชุ่มชื้นเค้าก็มีสถานะที่เป็นสารดูดความชื้นได้ด้วย และเมื่ออยู่ในสภาวะที่มีความชื้นต่ำ ( อธิบายง่ายๆ ว่าอากาศของนอกแห้งกว่าผิว ) แทนที่จะช่วยมอบความชุ่มชื้นให้ผิวกลายเป็นว่ามันจะดูดน้ำออกจากผิวหน้าเราไป เพราะความชื้นในอากาศไม่เพียงพอแทน จนสุดท้ายหน้าเราแห้ง กลายเป็นผิวขาดน้ำเหตุการณ์นี้จะสามารถเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อกลีเซอรินมีความเข้มข้นสูงๆซึ่งเป็นปริมาณที่เราจะไม่ค่อยเจอในผลิตภัณฑ์ดูแลผิวกันเท่าไหร่ เพราะปกติแล้วเนี่ยถ้าเราใส่ Glycerin ในปริมาณเยอะๆ เค้าจะมี Warming effect คือเวลาทาแล้วจะรู้สึกร้อน ใช้เยอะหน้าอาจเหนียวหรือจะลอกเอาได้ นี่เลยเป็นเหตุผลที่เราจึงไม่ค่อยใส่ในปริมาณสูงๆ ในผลิตภัณฑ์อยู่แล้วค่ะ เพราะฉะนั้นเวลาเห็นกลีเซอรีนบนฉลากเพื่อนๆ ก็สามารถใช้อย่างสบายใจได้เลย
แต่ถึงอย่างนั้นแม้ว่าจะมีผลวิจัยรองรับจาก American Academy of Dermatology ( AAD ) หรือที่รู้จักกันในนามองค์กรแพทย์ผิวหนังโลกแล้วว่ากลีเซอรีนที่ใช้ในเครื่องสำอางมีความปลอดภัยสูง แต่
สุดท้ายแล้วผิวมนุษย์เราก็เซนซิทีฟต่อสิ่งต่างๆ ไม่เหมือนกัน ถ้าหากว่าหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นแล้วเกิดอาการคันหรือรอยแดงขึ้น ก็อาจแปลว่าเราแพ้ได้
ควรหยุดใช้ผลิตภัณฑ์นั้นแล้วรีบไปพบแพทย์ทันทีนะคะ
.⋆。⋆☂˚。⋆。˚☽˚。⋆..⋆。⋆☂˚。⋆。˚☽˚。⋆.
หลายๆ ครั้งเราเจอในฉลากเครื่องสำอางแต่ไม่เคยรู้ว่ามันดียังไงทำไมเค้าต้องใส่มา หวังว่าวันนี้เราจะทำให้เพื่อนๆ ชาวซิสเข้าใจเกี่ยวกับกลีเซอรีนได้มากขึ้นนะคะใช้เป็นแล้วก็ต้องเลือกเป็นอะไรเหมาะและดีกับผิวเราจะได้เลือกให้ถูกต้องแล้วก็อย่าลืมบำรุงผิวด้วยผลิตภัณฑ์ที่มีกลีเซอรีนเป็นส่วนผสมด้วยน้า มาโพรเทกต์หน้าให้เนียนนุ่ม ยังคงความชุ่มชื้นไว้ ให้รอดหน้าหนาวนี้ไปด้วยกัน໒( ̿・ ᴥ ̿・ )ʋ
.⋆。⋆☂˚。⋆。˚☽˚。⋆..⋆。⋆☂˚。⋆。˚☽˚。⋆.
เปิดกรุสกินแคร์ คนผิวแห้งเค้าทาอะไรกันก่อนนอน
https://sistacafe.com/summaries/91160
Designerkidasindahouse
Writer:BabyPeachy
Cr.Safety Assessment of Glycerin as Used in Cosmetics
https://journals.sagepub.com/doi/full/10.1177/1091581819883820
Cr.Is Glycerin Good for Your Skin & Face?
https://www.healthline.com/health/glycerin-for-face
Cr. Everything You Need to Know About Glycerin Soap
https://www.healthline.com/health/beauty-skin-care/glycerin-soap
Cr.ประโยชน์ของ Glycerin ใน SkinCare
https://bit.ly/3tlbNgt